ประเทศไทย: 20 ปีของความอยุติธรรมสำหรับเหยื่อการสังหารหมู่ที่ตากใบ
ความล้มเหลวในการฟ้องคดีต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งรับผิดชอบต่อความตาย การบาดเจ็บ
ความพยายามในการฟื้นฟูประชาธิปไตยของไทย ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในปี 2567 เพื่อยุบพรรคก้าวไกลที่เป็นพรรคฝ่ายค้าน และการถอดถอนนายเศรษฐา ทวีสินออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี รัฐบาลใหม่ของนส. แพทองธาร ขินวัตร สัญญาว่าจะปฏิรูปครั้งใหญ่ ตอนที่รณรงค์หาเสียงให้พรรคเพื่อไทยในการเลือกตั้งเมื่อปี 2566 แต่ยังไม่ได้ทำตามสัญญา ทางการยังคงจำกัดสิทธิขั้นพื้นฐาน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุม โดยใช้กฎหมายหมิ่นประมาทกษัตริย์ ข้อหายุยงปลุกปั่น และพรบ.คอมพิวเตอร์ฯ ทางการไม่สามารถดำเนินงานเพื่อคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนให้ปลอดพ้นจากการถูกตอบโต้โดยหน่วยราชการและบริษัท ทั้งยังขาดการบังคับใช้กฎหมายเพื่อปราบปรามการทรมานและการบังคับให้สูญหาย ในขณะที่การลอยนวลพ้นผิดจากการปฏิบัติมิชอบ โดยเฉพาะในในจังหวัดชายแดนใต้ ยังเกิดขึ้นต่อไป ผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่ลี้ภัยยังคงเสี่ยงต่อการจับกุมและการเนรเทศ
December 2, 2024
October 28, 2024
October 23, 2024
ความล้มเหลวในการฟ้องคดีต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งรับผิดชอบต่อความตาย การบาดเจ็บ
ความจำเป็นในการรับรองอัตลักษณ์ทางเพศตามกฎหมายของประเทศไทย
บริษัทปตท. ที่ผลิตน้ำมันและก๊าซควรตัดความสัมพันธ์กับบริษัทของกองทัพ และพันธมิตรที่ปฏิบัติมิชอบ
ยุติการสนับสนุนการปราบปรามข้ามชาติของประเทศเพื่อนบ้าน
ต้องมีการปฏิรูปเพื่อยุติการดำเนินคดีที่ไม่เป็นธรรม, “การบังคับให้สูญหาย”, การส่งกลับผู้ลี้ภัย
การผลักดันเช่นนี้ทำให้เกิดอันตรายต่อบุคคลที่หลบหนีมาจากการโจมตีทางอากาศในรัฐกะเหรี่ยง
ถ้าไม่นับตัวประกันที่เป็นพลเรือนชาวอิสราเอล คนไทยถูกจับเป็นตัวประกันมากสุด
กระบวนการที่ไม่เป็นธรรม การเซ็นเซอร์ การกดขี่ปราบปราม
การไม่ปฏิบัติตามคำสัญญาที่จะเคารพการแสดงออก การชุมนุมอย่างเสรี การห้ามการทรมาน